รายละเอียด
การจัดเตรียมอาหารสําหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจึงควรคํานึงถึงปัจจัยเสี่ยงที่เกิดร่วมด้วย โดยต้องลดอาหารที่มีไขมันสูง ตลอดจนการนําหลักโภชนบําบัดไปใช้ให้ถูกต้องควบคู่ไปกับการรักษาของแพทย์ จะทําให้ผลการรักษาดีขึ้นได้
+++ หลักสําคัญในการควบคุมและป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง
+++ หลักสําคัญในการควบคุมและป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง
หลีกเลี่ยงการกินอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวเช่นกะทิไขมันสัตว์หนังสัตว์และเนื้อสัตว์ที่มีไขมันติดมากๆเช่น
กระดูกหมูหมูสามชั้นและขาหมู
เลือกใช้น้ํามันที่มีกรดไลโนเลอิกปรุงอาหารเช่นน้ํามันถั่วเหลืองน้ํามันข้าวโพดและน้ํามันรําข้าว
ลดการกินขนมหวานเช่นทองหยิบทองหยอดผลไม้เชื่อมและผลไม้ที่มีรสหวานจัดเช่นทุเรียนขนุน
เลือกกินอาหารที่มีเส้นใยสูงเพิ่มขึ้นเช่นผักผลไม้ข้าวซ้อมมือและถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ
งดการกินอาหารที่มีรสเค็มจัดทุกชนิดใช้เครื่องปรุงเท่าที่จําเป็น
เลือกประกอบอาหารด้วยวิธีอบนึ่งย่างต้มแทนการใช้น้ํามันทอด
• • • • • อาหารที่แนะนําสําหรับผป่วยที่เป็นโรคเบาหวานไขมันในเลือดสูงและความดันโลหตสูง
• • • • • อาหารที่แนะนําสําหรับผป่วยที่เป็นโรคเบาหวานไขมันในเลือดสูงและความดันโลหตสูง
อาหารที่ควรรับประทานเพิ่ม
ผักทุกชนิดรับประทานได้ไม่จํากัดใน 1วันควรรับประทานให้หลากหลายชนิด
ผลไม้รับประทานได้ 2-4ส่วน /วัน (ผลไม้ที่มีปริมาณน้ําตาลต่ํา)เช่นส้มมะละกอแคนตาลูปชมพู่
• • • • • • • • ข้อแนะนํา
ถ้าดื่มกาแฟ /ชา/นมควรใช้น้ําตาลเทียมแทนน้ําตาลทรายหรือนมข้นหวานใช้นมพร่องมันเนยแทนครีมเทียม
ใช้นมพร่องมันเนยหรือน้ําเต้าหู้ไม่หวานแทนกะทิในการปรุงแกงและขนมหวาน
วิธีปรุงอาหารใช้วิธีการนึ่งย่างอบตุ๋นแทนการทอดผัด
ไข่แดงไม่เกิน 2ฟอง /สัปดาห์ (ไข่ขาวไม่จํากัดปริมาณ)
ควรใช้น้ํามันพืชปรุงอาหารเช่นน้ํามันรําข้าวถั่วเหลืองฯลฯยกเว้นน้ํามันปาล์มและน้ํามันมะพร้าว
อาหารที่ควรรับประทาน
ปลาทะเลเช่นปลาทูหรือปลาน้ําจืดเช่นปลาช่อนปลานวลจันทร์เพราะมีกรดโอเมก้า 3ช่วยให้หัวใจทํางานเป็น
• LDLสามารถใช้แทนเนื้อสัตว์ใหญ่
ผักที่มีสีสันต่างๆและผลไม้หลากหลายทุกวันเช่นผักคะน้าดอกกะหล่ํากะหล่ําปลีผักกวางตุ้งมีสารอาหาร
• • น้ํามันถั่วลิสงน้ํามันดอกทานตะวันน้ํามันดอกคําฝอยและน้ํามันรําข้าว
รับประทานผลิตภัณฑ์นมพร่องมันเนยหรือนมขาดมันเนยแทนผลิตภัณฑ์นมไขมันเต็ม
รับประทานกระเทียมสดวันละ 1/2 – 1หัวเป็นส่วนหนึ่งของอาหารในชีวิตประจําวัน
ควบคุมปริมาณอาหารแต่ละมื้อโดยเฉพาะเนื้อสัตว์ไม่เกินวันละ 200กรัมหรือประมาณ 5ช้อนโตะ
• ไข่แดง เครื่องในสัตว์ เนื้อติดมันสมองสัตว์ อาหารทะเลบางชนิด
หลีกเลยงอาหารที่ปรงด้วยน้ํามนที่มีไขมนอิ่มตัว เช่น เนย ควรใช้ไขมันไม่อิ่มตัว อย่างเช่น น้ํามันรำข้าวแทน
• แล้วยังทําให้ไขมันพอกที่ตับเป็นผลให้น้ําตาลในเลือดสูงน้ําหนักเพิ่ม
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด
อาหารที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวที่ถูกดัดแปลง (Trans-fatty acid)เช่นของทอดขนมอบมาการีนนอกจากจะทําให้สูง
แล้วยังทําให้ไขมันดีคือ HDLต่ําลงอีกด้วย
เมื่อพูดถึงความดันโลหิตสูงทุกคนอาจทราบดีว่าต้องลดอาหารเค็มคือเกลือโซเดียม คนส่วนมากสามารถกินความดันโลหิต
ไม่เกิน 2400 มิลลิกรัมความดันโลหิตสูงร่วมกับโรคไตแนะนําให้บริโภคโซเดียมต่อวัน
• • • • • • • • • • • ตารางแสดงปริมาณโซเดียมในอาหาร
เกลือ 1 ช้อนชา ( 5กรัม ) 2000
ชูรส 1 ช้อนชา ( 5กรัม ) 492
ซีอิ้ว 1 ช้อนโตะ ( 15กรัม ) 960 - 142
ซอสปรุงรส 1 ช้อนโตะ ( 15กรัม ) 383
ข้าวคลุกกะป 1 จาน ( 270กรัม ) 1745
น้ําพริกปลาร้า 1 ช้อนโตะ 360
น้ําพริกตาแดง 1 ช้อนโตะ ( 15กรัม ) 560
ที่มาของรูปภาพ : http://www.thailovehealth.com/disease/health-1101.html