รายละเอียด
โรคหลอดเลือดสมองป้องกันได้เพียงเลิกปัจจัยเสี่ยง
เมื่อมีอาการเวียนหัว อ่อนแรงหรือชาครึ่งซีก พูดไม่ชัด ตาพร่ามัวมองเห็นไม่ถนัด มีภาพซ้อน ต้องพบแพทย์ทันที
เพราะสัญญาณเหล่านี้เสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง หากปล่อยทิ้งไว้อาจส่งผลให้เนื้อสมองถูกทำลายจนถึงขั้นพิการ
และเสียชีวิตได้ ความรุนแรงขึ้นอยู่กับลักษณะการทำลายของเนื้อสมอง
และเสียชีวิตได้ ความรุนแรงขึ้นอยู่กับลักษณะการทำลายของเนื้อสมอง
ซึ่งหากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกวิธีและทันเวลาจะเกิดอัมพฤกษ์อัมพาตรุนแรงถึงขั้นพิการและเสียชีวิตได้
โดยโรคนี้พบได้ทั้งชายและหญิงอายุ 44 ปีขึ้นไปที่มีประวัติป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และมีพฤติกรรมสูบบุหรี่
ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ อาการ ของผู้ที่มีโอกาสเป็นโรคหลอดเลือดในสมอง ได้แก่ปวดศีรษะ มึนงง
และหน้ามืดบ่อย เดินเซ ทรงตัวไม่ได้ มีอาการเพลีย ชา และอ่อนแรงครึ่งซีกซีกใดซีกหนึ่ง ตาพร่ามัว
มองเห็นไม่ชัดเจนหรือมีภาพซ้อนพูดจาไม่ชัดเจน จับไม่ได้ภาษา หากอาการรุนแรงอาจเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต
ที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย หากมีอาการรุนแรงมากอาจทำให้เสียชีวิตอย่างเฉียบพลันจากภาวะสมองขาดเลือด
ซึ่งหากผู้ป่วยมาพบแพทย์ด้วยอาการดังกล่าวภายใน 3-4 ชั่วโมง
เบื้องต้นแพทย์จะให้ยาละลายลิ่มเลือดเพื่อช่วยให้เลือดไหลไปเลี้ยงสมองได้อย่างทันท่วงที
ส่วนในผู้ป่วยทั่วไปการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดในสมอง จะดูจากประวัติการรักษาเพื่อคัดกรองความเสี่ยง
ประกอบกับการตรวจร่างกาย เพื่อหาสาเหตุของหลอดเลือดตีบด้วยการเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง (ซีทีสแกน)
การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (เอ็มอาร์ไอ)
สามารถบอกตำแหน่งที่เกิดหลอดเลือดสมองตีบหรือแตกจากภาพเอกซเรย์ได้อย่างชัดเจน
เพื่อให้แพทย์สามารถวางแผนการรักษาได้ถูกวิธี โดยการรักษาอาจมีทั้งการให้ยาลดอาการตีบตันของหลอดเลือด
หรือการผ่าตัดซึ่งขึ้นอยู่กับความรุนแรงและตำแหน่งที่เกิดโรค
น.พ.สงคราม กล่าวว่า ผู้ป่วยที่เป็นอัมพฤกษ์อัมพาตจากภาวะสมองขาดเลือดชีวิตจะเปลี่ยนไปอย่างไม่ทันตั้งตัว
สำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยกำลังใจเป็นเรื่องสำคัญโดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีภาวะความพิการ
ผู้ป่วยจะรู้สึกท้อแท้ สิ้นหวัง
คนดูแลต้องหมั่นสร้างความสุขให้กับผู้ป่วย บอกให้ผู้ป่วยได้คิดและทำตามเพื่อให้สมองได้มีการพัฒนา
คนดูแลต้องหมั่นสร้างความสุขให้กับผู้ป่วย บอกให้ผู้ป่วยได้คิดและทำตามเพื่อให้สมองได้มีการพัฒนา
ซ่อมแซมในส่วนที่ถูกทำลายไป ส่วนทางร่างกายต้องใช้กิจกรรมบำบัดโดยอาศัยนักกายภาพบำบัดที่มีความรู้เข้ามาช่วย
ในเรื่องของการลุก ได้แก่ การงดดื่มเหล้า งดสูบบุหรี่ การหลีกเลี่ยงอาหารประเภทไขมัน
แป้ง น้ำตาล หันมากินอาหารประเภทผัก ผลไม้ โดยกิจกรรมปั่นจักรยาน ระยะทาง 30 กิโลเมตรไป-กลับ เส้นทางเริ่มจากหน้าอาคารโรงพยาบาลศิริราช
ปิยมหาราชการุณย์ การตรวจสมรรถภาพร่างกายประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
และกายภาพบำบัด สาธิตการทำอาหารสุขภาพ และเพลิดเพลินกับมินิคอนเสิร์ต
ณ โถงชั้น 1 อาคารศิริราช 100 ปี สมเด็จพระศรีนครินทร์
ในเรื่องของการลุก ได้แก่ การงดดื่มเหล้า งดสูบบุหรี่ การหลีกเลี่ยงอาหารประเภทไขมัน
แป้ง น้ำตาล หันมากินอาหารประเภทผัก ผลไม้ โดยกิจกรรมปั่นจักรยาน ระยะทาง 30 กิโลเมตรไป-กลับ เส้นทางเริ่มจากหน้าอาคารโรงพยาบาลศิริราช
ปิยมหาราชการุณย์ การตรวจสมรรถภาพร่างกายประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
และกายภาพบำบัด สาธิตการทำอาหารสุขภาพ และเพลิดเพลินกับมินิคอนเสิร์ต
ณ โถงชั้น 1 อาคารศิริราช 100 ปี สมเด็จพระศรีนครินทร์
แหล่งที่มา : http://www.ryt9.com/s/bmnd/2249991